วันอังคารที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 4 วันที่ พฤศจิกายน 2555

- ในการทำ My Map ต้องมีการคิดวิเคราะห์

- พรีเซนงานแต่ละกลุ่ม และร่วมกันแสดงความคิดเห็น คำถามของแต่ละกลุ่มที่เตรียมมา
- อาจารย์ อธิบาย ในการจัดกิจกรรมให้กับเด็กๆ ในแต่ละสัปดาห์
- คณิตศาสตร์ สามารถบูรณาการ
- ส่งงาน Mind Map ครั้งที่ไปแก้ไข้ พร้อมกับแนะนำเพิ่มเติมเพื่อที่จะนำเนื้อหาไป
- สิ่งที่ต้องนำมาสอนเด็ก > เรื่องใกล้ตัว
                                        > สิ่งที่มีผลกระทบกับเด็ก
- แก้ไข กิจกรรม 12 ข้อ
- นำเสนอโดย  เกม เพลง คำคล้องจอง รูปภาพ
- เด็กคิดว่าอะไรอยูในตระกร้า
- ไข่มีรูปทรงอะไร
- ไข่ที่อยู่ในตระกร้ามีกี่ฟอง
- ไข่ที่อยู่ในตระกร้ามีทั้งหมดกี่ฟอง
- อาหารที่ทำจากไข่ที่เด็กรู้จัก

* ลักษณะ  รูปร่าง  รูปทรง การนับ  สี  จำนวน


กิจกรรม 12 ข้อ

1. การนับ = เด็กๆ ลองนับ ไข่ในตระกร้า มีกี่ฟอง
2. ตัวเลข =  ให้เด็กๆ นำตัวเลขฮินดูอารบิก ไปแทนค่า จำนวนไข่ ในตระกร้า
3. การจับคู่ = ให้เด็กๆ จับคู่ตระกร้าที่มีจำนวน ไข่เท่ากัน
4. จัดประเภท = เด็กๆลองแยกประเถทไข่ที่อยู่ในตระกร้าว่ามีอะไรบ้าง
5. การเปรียบเทียบ = - ให้เด็กๆ เปรียบเทียบ ขนาด เล็ก - ใหญ่ ของไข่
                                 - เปรียบเทียบน้ำหนักของไข่
6. การจัดลำดับ = ให้เด็กๆเรียงลำดับไข่ จาก เล็ก ไปใหญ่ หรือ ใหญ่ไป เล็ก
7. รูปทรงและเนื้อที่ = ไข่ที่เด็กๆ เห็นมีรูปทรงอะไรบ้าง
8. การวัด = ให้เด็กๆวัดเส้นรอบวงของไข่ และชั่งน้ำหนักของไข่
9. เซต = ให้เด็กๆ จัดกลุ่มอุปกรณ์การทำไข่เจียว
10. เศษส่วน = ให้เด็กๆแบ่งครึ่งไข่เจียว
11. การทำตามแบบหรือลวดลาย = ให้เด็กๆ เขียนตัวเลข ฮินดูอารบิก แทนค่า จำนวนของไข่ โดยเขียนตามแบบ
12. การอนุรักษ์การคงมี่ด้านปริมาณ = ครูตีไข่ และกระบวยตักไข่ ในปริมาณที่เท่ากัน โดยครั้งแรก ทอดไข่ให้แน  ครั้งที่ 2 ทอดไข่ให้หนาและเล็กกว่า แล้วให้เด็กๆสังเกต และเปรียบเทียบและอธิบายเหตุผล



บรรยากาศในห้องเรียน





การบ้าน

- จัดแบ่ง วันจันทร์ - วันศุกร์ > เนื้อหา > บูรณาการ 12 ตัวกิจกรรม > จัดลำดับ 1 - 2 - 3
- ให้นักศึกษา เขียน mind map 1 หน่วย คนละ 1 แผ่น








วันเสาร์ที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 3 วันที่ 20 พฤศจิกายน 2555

- สิ่งที่อยู่รอบตัวเด็ก เรื่องใกล้ตัว
- การเอาตัวรอด การมีชีวิตอยู่
- 4 หัว เรื่อง 4 หน่วย  >  หน่วยกล้วย
                                  >  หน่วยส้ม
                                  >  หน่วยไข่
                                  >
ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัยศึกษาควรประกอบด้วยหัวข้อของเนื่อหาหรือทักษะ
( นิตยา ประพฤติกิจ :  2541 :  17 : 19 ) ดังต่อไปนี้

1. การนับ ( counting ) เป็นคณิตศาสตร์เกี่ยวกับตัวเลขอันดับแรกที่เด็กรู้จัก การนับอย่างมีความหมาย เช่น การนับตามลำดับตั้งแต่ 1 - 10 หรือมากกว่านั้น
2. ตัวเลข ( number ) เป็นการให้เด็กรู้จักตัวเลขที่เห็นหรือใช้อยู่ใน ชีวิตประจำวันให้เด็กเล่นของเล่นที่เกี่ยวกับตัวเลข ให้เด็กได้นับและคิดเอง โดยครูเป็นผู้วางแผนจัดกิจกรรมอาจมีการเปรียบเทียบแทรกเข้าไปด้วย
3.การจับคู่ ( Matching ) จำนวน - จำนวน , จำนวน - ตัวเลข , ตัวเลข - ตัวเลข
4. การจัดประเภท ( Comparing ) เด็กจะต้องมีการสืบเสาะและอาศัย ความสัมพันธ์ ระหว่าง ของ สองสิ่งหรือมากกว่า รู้จักใช้คำศัพท์ เช่น มากกว่า หนักกว่า เบากว่า
6. การจัดลำดับ ( Ordering ) เป็นเพียงการจัดสิ่งของชุดๆหนึ่ง ตามคำสั่งหรือ ตามกฎ เช่น การบล็อค 5 แท่ง ที่มีความยาวไม่เท่ากัน ให้เรียงตามลำดับจากสูงไปต่ำ  หรือจากสั้นไปหายาว
7. รูปทรงและเนื่้อที่ (
8. การวัด ( Measurement ) มักให้เด็กวัดลงมือ ได้ด้วยตนเอง ให้รู้จักความยาว และระยะ
9. การเซต ( Set ) เป็นการสอนเรื่องเซตอย่างง่ายๆ จากสิ่งรอบๆตัว มีการเชืิ่อมโยงจากสภาพรวม
10. เศษส่วน ( Fraction ) ปกติแล้วการเรียนเศษส่วน มักเชื่อมโยงในชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 ปต่ครูปฐมวัย สามารถสอนได้โดยเน้นส่วนรวมให้เด็กเห็นก่อนมีการลงมือปฎิบัติเพื่อให้เด็กเข้าใจความหมายและมีความคิดรวบยอด
11.การทำตามแบบลวดลาย ( Patterning )  เป็นการพัฒนาให้เด็กจดจำรูปแบบ ลวดลายและพัฒนาการจำแนกด้วยสายตาให้เด็กฝึกสังเกต
12. การอนุรักษ์ คือ การคงที่ปริมาณ ( Conservation ) ช่วงวัย 5 ขวบ ขึ้นไปครูอาจเริ่มสอน เรื่องการอนุรักษ์ได้บ้าง โดยให้เด็กลงมือกระทำ


ภาพกิจกรรมในห้องเรียน
























วันอังคารที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 2 วันที่ 13 พฤศจิกายน 2555

- อาจารย์ให้นักศึกษา วาดรูปสัญญาลักษณ์ ของตัวเอง พร้อมกับเขียนชื่อ
- จากการวาดรูป ได้เรียนรู้เรื่อง รูปทรง รูปร่าง ขนาด เรื่องของเวลา ก่อน - หลัง > ลำดับที่
                                                                                                                            > จำนานของแต่ละกลุ่ม
                                                                                                                            > คือ ปริมาณ
- การบูรณาการ คณิตศาสตร์ กับ ภาษา
- การจัดหมวดหมู่ ต้องมีหลักเกณฑ์ในการจัด
- เกณฑ์ คือ เวลา เป็นเกณฑ์ในการติด ภาพที่ตนเองวาด
- ติดรูปภาพ จาก ซ้าย - ไปขวา เพราะเวลาอ่าน อ่านจากซ้ายไปขาว
- พื้นฐานของการนับ  คือ การนับเพิ่มทีละ 1
- การพูดซ้ำๆ ฟังซ้ำๆ สั่งไปที่สมอง เพื่อที่จะรับเข้าไปซึมซับเก็บข้อมูลและเกิดปรับเป็นองค์
  ความรู้ใหม่ > เกิดการเรียนรู้
- การแทนค่าของสิ่งของ เริ่มใช้เหตุผลไปตามลำดับ
- การใช้คำเฉพาะ  อะไรที่เป็นรูปร่าง  อะไรที่เป็นรูปทรง >> เลขฮินดูอารบิค
- คณิตศาสตร์ คือ เลขฐาน 10
- คณิตศาสตร์เป็นสิ่งที่เกี่ยวกับชีวิตประจำวัน
- การมาเรียนของเด็กสามารถนำไปเปรียบเทียบได้
- อาจารย์ จ๋า ให้ นักศึกษา แบ่งรูปที่ นักศึกษาวาดโดยใช้สิ่งมีชีวิตเป็นเกณฑ์
- การบูรณาการผ่านกิจวัตร ประจำวัน
- คณิตศาสตร์ผ่านบูรณาการมีกิจกรรม > เกมส์การศึกษา
                                                             > มุมประสบการณ์ กิจกรรมเสรี
                                                             > ศิลปะสร้างสรรค์
                                                             > การเล่นกลางแจ้ง
                                                             > การเคลื่อนไหวและจังหวะ
                                                             > มุมเสริมประสบการณ์
- อาจารย์ จ๋า ให้ฟังเพลง เกี่ยวกับ คณิตศาสตร์ เพลงเกี่ยวกับ การนับจำนวน ซ้าย - ขวา ( ทิศทาง )
บนล่าง  บอกตำแหน่ง  เพลงเป็นเพลงเครื่องมือใช้ เข้าสู่กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ เพลงนี้ถ้านำไปจัดเป็นเกมส์ การศึกษา เกี่ยวกับอนุกรม
- การเชื่อมโยง ภาพเป็นสิ่งที่จะให้เด็กทำ
- การเรียงลำดับ ต้อง เปรียบเทียบก่อน


ภาพบรรยากาศในห้องเรียน















วันพฤหัสบดีที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 1 วันที่ 7 พฤศจิกายน 2555

- ปฐมนิเทศนักศึกษา การเข้าเรียน ข้อตกลงกติการในการเรียน
- อาจารย์แจกกระดาษ คนละ 1 แผ่น ให้เขียนเกี่ยวกับ คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยในความเข้าใจของเรา มาคนละ 1 ประโยค
- การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยต้องเรียนรู้อะไรบ้าง ?
การจัดประสบการณ์ > > การจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา
คณิตศาสตร์  > เป็นตัวย่อยที่จะนำไปใช้ในตัวใหญ่  > สาระเนื้อหา  > ประสบการณ์สำคัญ  > การที่เด็กกระทำหรือใครกระทำ >  เกิดความชำนาญ , เกิดทักษะ
สำหรับเด็กปฐมวัย > พัฒนาการ  > การเปลี่ยนแปลงเป็นตามลำดับขั้นตอนอย่างต่อเนื่อง
                                   >  วิธีการเรียน > มีอิสระเลือกเองได้
                                                              >  ใช้ประสาทสัมผัส ทั้ง 5  ตา  หู  จมูก  ปาก  ลิ้น  และ กายสัมผัส
- การบูรณาการเข้าไปสู่กิจกรรม ภาษา คณิตศาสคร์ วิทยาศาสตร์
- ภาษาเป็น  เครื่องมือในการสื่อสาร ที่นำไปสู่การเรียนรู้ในลำดับต่อไป
- กิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม
- การมีประสบการณ์การในการทำกิจกรรม
- กิจกรรมหลัก 1 กิจกรรมเสรี กิจกรรมที่เล่นตามมุม  เช่น มุมร้านค้า หรือ สื่อที่เกี่ยวข้อง เช่น หนีบไม้หนีบผ้าเป็นรูปร่าง เป็นต้น
- พัฒนาการบอกถึงความสามารถของเด็ก