ชื่อวิจัย : การพัฒนาความพร้อมทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยใช้วิธีการสอนแบบเล่น-เรียน-สรุป-ฝึกทักษะ
ผู้วิจัย : คุณ สายพิณ ใจยวน
สรุปวิจัย : การนำความรู้ที่ได้จากกระบวนการเล่น และการเรียนมาสรุปเป็นองค์ความรู้ และหลักการเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์ร่วมกัน เพื่อให้นักเรียนได้สรุปความคิด ความคิดรวบยอด และความเข้าใจด้วยตนเองมากยิ่งขึ้น
ผลการใช้แผนการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์ หมายถึง ความพร้อมทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย เรื่องการรู้ค่าของตัวเลข 1 - 10 ซึ่งวัดได้จากทำแบบทดสอบความพร้อม แล้วเทียบกับเกณฑ์การผ่านร้อยละ 70.00 และพฤติกรรมการทำกิจกรรมของนักเรียน คือ ด้านความสนใจ และการมีส่วนร่วม ด้านการรู้จักสังเกตและแก้ปัญหา ด้านการมีน้ำใจช่วยเหลือผู้อื่น ด้านความสนุกสนานเพลิดเพลิน และด้านการเก็บวัดสดุอุปกรณ์หลังเลิกเล่น
จุดประสงค์ : เพื่อส่งเสริมกระบวนการคิดและการสรุปหลักการทางคณิตศาสตร์ด้วยนักเรียนเอง
กลุ่มเป้าหมาย : กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียน ชั้น อนุบาล 1 โรงเรียนบ้านทุ่งหัวช้าง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2549 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาลำพูน เขต 2 จำนวน 22 คน
วัตถุประสงค์ :
1) เพื่อสร้างแผนการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย โดยใช้วิธีการสอน แบบเล่น - เรียน - สรุป - ฝึกทักษะ
2) เพื่อศึกษาผลการใช้แผนการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย โดยใช้ วิธีการสอนแบบเล่น - เรียน - สรุป - ฝึกทักษะ
สรุป : การนำความรู้ที่ได้จากกระบวนการเล่น และการเรียนมาสรุปเป็นองค์ความรู้ และหลักเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์ร่วมกับ เพื่อให้นักเรียนได้สรุป ความคิด ความคิดรวบยอด และความเข้าใจด้วยตนเองมากยิ่งขึ้น
ประโยชน์ที่ได้รับ :
1) ได้ทราบแนวการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
2) ได้ทราบพัฒนาความพร้อมทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยเรื่องการรู้ค่า และ ตัวเลข 1 - 10
แฟ้มสะสมผลงานรายวิชาการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วันศุกร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
วันพุธที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 16 วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2556
- สติปัญญา> แบ่งเป็น2 ประเถทคือ > การคิด > ความคิดสร้างสรรค์ > วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
> ความคิดเชิงเหตุผล
> ถาษา
- ภาษาเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ของมนุษย์ คือ > ภาษา , คณิตศาสตร์ > เป็นตัวหลักที่จะเรียรู้ต่อไป
- วิทยาศาสตร์ >> กำหนดเนื้อหา กำหนดหัวข้อ สิ่งที่อยู่รอบตัวเราคือ วิทยาศาสตร์
ต้องอาศัยหลัก วิทยาศาสตร์ > สังเกต คาดคะเน ทดลอง แปรผล
กระบวนการทดลอง ลงมือปฎิบัติ ทำให้เป็น เช่น การทำไข่เจียว จากของเหลวเป็นของแข็ง
# เด็กก็จะได้ คือ การสังเกต และจดบันทึก
- เครื่องมือ คณิตศาสตร์ > การตวง การกะเวลา การคาดคะเน แล้วเด็กก็จะได้เห็นเป็นภาพ และจะทำให้เกิดภาษากับเด็ก
> ความคิดเชิงเหตุผล
> ถาษา
- ภาษาเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ของมนุษย์ คือ > ภาษา , คณิตศาสตร์ > เป็นตัวหลักที่จะเรียรู้ต่อไป
- วิทยาศาสตร์ >> กำหนดเนื้อหา กำหนดหัวข้อ สิ่งที่อยู่รอบตัวเราคือ วิทยาศาสตร์
ต้องอาศัยหลัก วิทยาศาสตร์ > สังเกต คาดคะเน ทดลอง แปรผล
กระบวนการทดลอง ลงมือปฎิบัติ ทำให้เป็น เช่น การทำไข่เจียว จากของเหลวเป็นของแข็ง
# เด็กก็จะได้ คือ การสังเกต และจดบันทึก
- เครื่องมือ คณิตศาสตร์ > การตวง การกะเวลา การคาดคะเน แล้วเด็กก็จะได้เห็นเป็นภาพ และจะทำให้เกิดภาษากับเด็ก
วันอังคารที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 15 วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2556
* อาจารย์นำเสนอการทำ My Map การทำผัง การทำกิจกรรมต่าง ของโรงเรียนเกษมพิท
- อาจารย์ยกตัวอย่าง คณิตศาสตร์ผ่านการประกอบอาหาร > การใช้ภาพแทนคำ
> การใช้ภาษา
- อาจารย์ยกตัวอย่าง คณิตศาสตร์ผ่านการประกอบอาหาร > การใช้ภาพแทนคำ
> การใช้ภาษา
วันอังคารที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 14 วันที่ 5 มกราคม 2556
- อาจารย์ให้แต่ละกลุ่ม สอบสอน
- พูดคุยเรื่องการแสดง
- สอบสอนเรื่อง ไข่
- ไข่ > ไข่ไก่
> ไข่เป็ด
> ไข่นกกระทา
> ไข่เต่า
> ไข่จระเข้
> ไข่ห่าน
- ดึงประสบการณ์เดิมของเด็กออกมา
- ถามเด็กๆ คิดว่าไข่ในตระกร้ามีกี่ฟอง
- เด็กเรียนผ่านประสบการณ์ตรง
- ขั้น การอนุรักษ์ เด็กได้ใช้เหตุผลในการตอบ
- พูดคุยเรื่องการแสดง
- สอบสอนเรื่อง ไข่
- ไข่ > ไข่ไก่
> ไข่เป็ด
> ไข่นกกระทา
> ไข่เต่า
> ไข่จระเข้
> ไข่ห่าน
- ดึงประสบการณ์เดิมของเด็กออกมา
- ถามเด็กๆ คิดว่าไข่ในตระกร้ามีกี่ฟอง
- เด็กเรียนผ่านประสบการณ์ตรง
- ขั้น การอนุรักษ์ เด็กได้ใช้เหตุผลในการตอบ
ภาพกิจกรรม
การบ้าน
- หาวิจัย 5 บท ที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ ภาษา
เลือกมา 1 เรื่อง สรุป
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)